การทำ タスク ครั้งนี้ เป็นการพูดบรรยายภาพที่เห็น
ทำให้ได้เรียนรู้อะไรหลายๆอย่าง
อย่างแรก คือ คำศัพท์ มีคำศัพท์หลายคำที่เราไม่รู้
ทั้งๆที่เป็นคำศัพท์ง่ายๆ บรรยายถึงสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน
รวมถึงการเลือกใช้คำศัพท์ ซึ่งก็เรียกง่ายๆ ว่าไม่รู้คำศัพท์นั่นแหละ เช่น
ประโยคที่บอกว่า สบตา คือ 「目があった」ก็เพิ่งรู้ตอนที่ได้ทำ タスクนี้แล
อีกคำหนึ่ง การบรรยายการกระทำว่า หลบอยู่หลังหนังสือพิมพ์ คือใช้ประโยคว่า 新聞のかげに隠れるค่า ความรู้ใหม่อีกแล้ว รู้ไหมคะ ตอนพูดจริง อิฉันพูดว่า 新聞を読んでいるような態度をします อับอายขายหน้าค่ะ 55555
อย่างที่สอง
เมื่อจำเป็นต้องพูดออกไปเลยโดยที่ไม่ได้มีเวลาไต่ตรอง เรียบเรียง และตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
ทำให้พบว่ามีข้อผิดพลาดเยอะมาก แม้แต่ไวยากรณ์ง่ายก็ยังผิด ตอนพูดไม่ค่อยรู้สึกตัวหรอก
แต่พอได้ลองกลับมาฟังอีกครั้ง ก็พบว่า อื้อหืออออ ผิดได้อย่างไร(วะ)
ซึ่งเป็นส่วนที่ควรจะพัฒนาอย่างยิ่ง เป็นต่อไปอย่างนี้อาจจะเข้าข่ายสุภาษิตที่ว่า “ความรู้ท่วมหัว
เอาตัวไม่รอด” (ไม่เกี่ยวเลยค่ะ 5555) คือว่า ความรู้ ไวยากรณ์ คำศัพท์เนี่ย
แน่นปึกอยู่ในหัว แต่พอจะเอาออกมาใช้จริงๆ กลับไม่ได้เรื่อง
เช่นนี้ก็ไม่ไหวนะเจ้าคะ T T
และอย่างที่ 3 ได้เรียนรู้เรื่องการใช้รูป
んです อีกแล้ว คือ เวลาทวนประโยคของคู่สนทนา จะใช้รูป んです เช่น A:昨日は病気で、休みました。B:病気なんですか。เป็นต้น
โดยสรุปแล้ว งานนี้ทำให้อิฉันรู้สึกตัวได้ว่า ทักษะการพูด ห่วย บรม แต่มัวแต่ต๊อแต๊ ก็ไม่ได้อะไรดีขึ้นมานะคะ ลุกขึ้นมาพัฒนาตัวเองดีกว่า เพื่อที่ได้พูดเก่งกับเขาสักที
นี่คือภาพ ที่ต้องบรรยายค่ะ ถ้าต้องพูดเป็นภาษาไทย ก็คงสบายบรื๋อ สะดือโบ๋ มีแต่คำศัพท์ง่าย แต่พอเป็นภาษาญี่ปุ่น ไอ้คำศัพท์ง่ายๆที่ใช้ได้ในชีวิตประจำวันนี่ล่ะค่ะ ตัวยากเลย
ส่วนนี่คือ งาน ที่แก้แล้ว (นี่ขนาดแก้แล้ว)
私:ヤーダーさん、私はホテルへ行きました。それで面白いことがありました。
ヤーダーさん:何ですか?
私:そのホテルでいる男の人を見ました。その男の人は何もしないで、ソファに座っていました。そこで外国人の観光客がいました。その外国人は道が分からなくて、地図を見ていました。それで、その外国人と男の人が目があって、外国人が道を尋ねようと男の人に近づいていました。
ヤーダーさん:それで。。
私:それで、その男の人がそんな態度を見ると、隣に座っているおじいさんが読んでいる新聞のかげに隠れてしまいました。その外国人の観光客が道を聞くことができませんでした。
คำศัพท์แต่ละคำ น่าสนใจใช่มั๊ยล่ะค้าา :)
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบこんばんは、はじめまして。
ตอบลบ今回のタスクで、いろいろな発見があったんですね。
いつもよく聞いたり使ったりする言葉でも、知らない使い方はたくさんあると思います。
例えば、「あう」でいうと、
目が合う/口に合う/気が合う/話が合う/釣り合う/割に合う・・・・
知らない使い方はありましたか??
また、「んです」の使い方はなかなか難しいと思いますが、
とりあえず使ってみよう!!と試してみるのもいいと思います。
例えば、上の日本語の文。これは書き直したんですよね?
どうして「んです」を使わなかったんですか??もったいない。
「んです」を使うだけで、もっと生き生きとした自然な会話になりますよ。
それから、「最初の会話」を人に見せるのは恥ずかしいかもしれませんが、
並べておけば、あとで、こんなことを間違えていたのかと振り返ることもできます。
今の時点の自分、できなかったものを記録しておくことも大切かなと思いますよ。
では、これからもがんばってください。
いろいろアドバイスをもらって、ありがとうございました。
ลบ答えは遅くなって、すみません。
実は「んです」を使うのはとても難しいと思います。
日本語を話すとき、緊張して、「んです」という文法を思い出せなくなります。
私にとって、「んです」があまり必要な文法ではないと思います。「んです」がなくても、伝えたいことが分かることができるのです。
結局、「んです」はあまり使わなくなります。
どうすればいいですか?