สวัสดีค่าา หลังจากห่างหายไปนาน อิฉันก็คิดขึ้นมาได้ว่า อิฉันได้ศึกษาและจับสังเกตุตัวเองในหัวข้อ 文末表現 เรื่อง んですมานานพอสมควรแล้ว และคิดว่าการใช้ของตัวเองดีขึ้นมาก แต่กระนั้น ก็ยังประสบปัญหาที่ว่า การใช้んですนั้น ไม่มีผลทำให้ความหมายของประโยคเปลี่ยนแปลงสักเท่าไร ในฐานะเด็กต่างด้าว ตัวน้อยๆ ตาดำๆ ที่มีความต้องการเพียงแค่สื่อสารกับเขารู้เรื่อง เวลาพูดจริงจึงไม่มี んです ออกมามากเท่าไรนัก ถ้าเช่นนั้น จึงลองเปลี่ยนใจ มาศึกษา 文末表現 ที่มีความสำคัญกับความหมายของประโยคดูบ้าง
(練習文1)うるさい、だまって聞け。(命令)
(練習文2)うるさい、だまって聞きなさい。(命令)
(練習文3)さっさと歩け。(命令)
(練習文4)さっさと歩きなさい。(命令)
(練習文5)食事中に立ち歩くのはやめろ。(禁止)
(練習文6)食事中に立ち歩くのはやめなさい。(禁止)
(練習文7)ぼくは、ぜったいに行きません。(強い意志)
(練習文8)ぼくは、ぜったいに行かない。(強い意志)
(練習文9)歩きながら本を読んではいけない。(禁止)
(練習文10)もう、帰って。(強い命令)
(練習文11)さあ、どいた、どいた。(強い命令)
強い言い方の音声練習(その2)
(練習文1)ぼくは、行かないつもりだ。(強い意志)
(練習文2)行きたい、行きたい、ぜひ行きたい。(強い希望・願望)
(練習文3)君は、絶対に行くべきだ。(当然・強い命令)
(練習文4)君は、絶対に行かねばならない。(当然・強い命令)
(練習文5)小学生になったら、近所の人には進んで挨拶をしなさい。
(当然)
(練習文6)そんなこと、あるはずがない。(打ち消し)
(練習文7)静かにしなさい。(強い命令)
(練習文8)うそをついてはいけません。(強い命令)
(練習文9)ぐずぐずしないで、早く出発しろ。(強制、命令)
(練習文10)もう少し、はやく歩いてくれ。(非難、命令)
ที่มา http://www16.ocn.ne.jp/~ondoku/modariteibunnmatu.html
ประโยคเหล่าอิฉันไปค้นเจอมา แสดงให้เห็นถึง 文末表現 ที่มีผลต่อความหมาย ไม่ว่าจะเป็น รูปคำสัง อย่าง なさい หรือ รูปห้าม อย่างだめ เป็นต้นนน อันที่จริงแล้ว ประโยคพวกนี้ใช้บ่อยมาก ไม่น่าไปจมอยู่กับ んです ซะนานเลย แต่คิดอีกแง่นึง เพราะรูปพวกยี้ใช้บ่อยไง แต่ んです ไม่ได้ใช้ เลยต้องท้าทายตัวเองได้การใช้เป็น 目標 ซะเลย ใครจะว่ายังไงไม่รู้ แต่อิฉันคิดว่า ความรู้ของอิฉันพัฒนาขึ้นนะ อิอิ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น